open letter no 2

Chicago 2 why Chicago

Chicago 2 ทำไม ผมต้องดัดจริต ฟังวิทยุชิคาโก ด้วย? ๑.    ผมติดนิสัยชอบฟังวิทยุตปท. จากแดนไกลเป็นนิสัยมาแต่มัธยม เพื่อฝึกภาษา ประกอบกับมีผู...

วันพุธที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2563

ฝรั่งเศสโมเดล 18 คู่มือ การขอลี้ภัยทางการเมือง ในประเทศฝรั่งเศส


ลิงก์ไปต้นฉบับ เป็นไฟล์ pdf โหลดได้.....

อยู่ด้านล่างสุด ครับ ขอให้ทุกคน โชคดี


SOMMAIRE 1. Les différentes formes de protection .......................................................... 4 1.1. Le statut de réfugié ........................................................................................................... 4 1.2. La protection subsidiaire ................................................................................................... 4 1.3. Le statut d’apatride........................................................................................................... 4 2. L’accès à la procédure et le droit au maintien sur le territoire .................... 6 2.1. La détermination de l’Etat responsable de l’examen de votre demande d’asile................... 6 2.2. Le droit au maintien sur le territoire français ..................................................................... 7 3. Les conditions d’examen de la demande d’asile ......................................... 9 3.1. L’examen par l’Office français de protection des réfugiés et apatrides (OFPRA) .................. 9 Le formulaire OFPRA à remplir ................................................................................................................. 9 L’envoi du dossier..................................................................................................................................... 9 La preuve de l’enregistrement de la demande par l’OFPRA .................................................................. 10 L’examen de la demande en procédure normale ou en procédure accélérée ...................................... 10 L’entretien à l’OFPRA.............................................................................................................................. 10 La décision de l’OFPRA ........................................................................................................................... 11 3.2. L’examen par la Cour nationale du droit d’asile (CNDA).................................................... 12 Le délai de recours ................................................................................................................................. 12 Le recours ............................................................................................................................................... 12 L’accusé de réception d’un recours........................................................................................................ 13 L’assistance d’un avocat......................................................................................................................... 13 L’audience à la CNDA.............................................................................................................................. 14 La décision de la CNDA ........................................................................................................................... 14 3.3. L’irrecevabilité et la clôture de la demande d’asile ........................................................... 15 La demande irrecevable ......................................................................................................................... 15 La clôture d’examen d’une demande..................................................................................................... 15 3.4. Le réexamen ................................................................................................................... 16 4. Le parcours du demandeur d’asile.............................................................17 4.1. L’accompagnement du demandeur d’asile ....................................................................... 17 Le premier accueil et l’orientation ......................................................................................................... 17 Les conditions matérielles d’accueil....................................................................................................... 19 La prise en compte de la vulnérabilité par le guichet unique ................................................................ 19 4.2. L’hébergement du demandeur d’asile.............................................................................. 20 Les lieux d’hébergement ........................................................................................................................ 20 L’orientation vers l’hébergement........................................................................................................... 20 Le départ du lieu d’hébergement........................................................................................................... 20 gDA2015 _____________ Le guide du demandeur d’asile en France gDA2015 3 5. Les droits des demandeurs d’asile .............................................................22 5.1. L’allocation pour demandeur d’asile (ADA)...................................................................... 22 Les conditions pour en bénéficier .......................................................................................................... 22 La formulation de la demande ............................................................................................................... 22 Le montant de l’allocation...................................................................................................................... 23 Le versement .......................................................................................................................................... 23 Le recours ............................................................................................................................................... 23 5.2. L’accès à l’éducation ....................................................................................................... 23 5.3. L’accès aux soins............................................................................................................. 24 Les soins d’urgence ................................................................................................................................ 24 La couverture maladie universelle (CMU) .............................................................................................. 24 5.4. L’accès au marché du travail............................................................................................ 24 6. Les conséquences du rejet de la demande d’asile sur le droit au maintien sur le territoire ..............................................................................................26 6.1. La décision de rejet de l’OFPRA ou de la CNDA................................................................. 26 6.2. Le retour aidé dans le pays d’origine................................................................................ 26 6.3. Le retour contraint dans le pays d’origine ........................................................................ 27 7. Les droits des bénéficiaires d’une protection.............................................28 7.1. Le séjour en France ......................................................................................................... 28 7.2. Le séjour de la famille ..................................................................................................... 29 Le droit au séjour des membres de famille ............................................................................................ 29 Le droit à la réunification familiale ......................................................................................................... 30 7.3. L’intégration ................................................................................................................... 30 La signature du contrat d’accueil et d’intégration avec l’Office français de l’immigration et de l’intégration (OFII) .................................................................................................................................. 30 7.4. Les droits sociaux ............................................................................................................ 31 L’accès au logement ............................................................................................................................... 31 L’accès au marché de l’emploi ............................................................................................................... 31 L’accès à la santé .................................................................................................................................... 31 Les prestations sociales et familiales ...................................................................................................... 32 7.5. Le voyage à l’étranger ..................................................................................................... 32 7.6. La naturalisation ............................................................................................................. 33 ANNEXE : adresses utiles ...............................................................................34 1. Adresses nationales ........................................................................................................... 34 Associations ............................................................................................................................................ 34 2. Adresses locales ................................................................................................................. 36 Guichets uniques .................................................................................................................................... 36 Préfectures ............................................................................................................................................. 37 Directions territoriales de l’Office français de l’immigration et de l’intégration (OFII).......................... 39


รายละเอียด ในต้นฉบับ เชิญที่

https://www.immigration.interieur.gouv.fr/Asile/Guide-du-demandeur-d-asile-en-France


วันอังคารที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2563

ฝรั่งเศสโมเดล ตอน 17 วีรกรรมต่อยอดปลดแอก – สำหรับคุณศรัณ a fun guide…


--วีรกรรมเชิงสัญลักษณ์ระดับชาติ ที่ขึ้นชื่อลือชาของเธอ(คุณศรัณ) อีกเหตุการณ์หนึ่งได้แก่ การพยายามลดธงชาติลงจากยอดตึกโดม เพื่อชักธงดำขึ้นแทน  วีรกรรมระดับชาติวีรกรรมนี้ ได้รับการสรรเสริญเจริญพรไปทั่ว ทั้งจากฝ่ายที่คิดบวกและฝ่ายคิดลบ ในประเทศไทย

 

               จะอย่างไรก็ดี ผู้เขียนบลอคซึ่งหัวก้าวหน้าและหัวปลดแอก(พูดเล่น) ทั้ง ๆ ที่ไม่มีแอกจะปลด กลับคิดวิปริตอัปรีย์เห็นด้วยกับเธอ – คุณศรัณ ทั้งหมด  และจะเสนอให้คุณศรัณ ประกอบวีรกรรมลักษณะใกล้เคียงกัน ในประเทศฝรั่งเศส ที่อวลกลิ่นสิทธิเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ โดยประชาชน เพื่อประชาชน ของประชาชน....ทั้งนี้เพื่อต่อยอดวีรกรรมที่เธอได้ทำในประเทศไทย และได้รับคำสรรเสริญเจริญพรโดยทั่วไป นะคะ

ผู้เขียนเชื่อว่า ข้อเสนอต่อไปนี้จะถูกใจเธอ แน่นอน  และจะเป็นวีรกรรมระดับยุโรป แม้จะทำอยู่ที่ฝรั่งเศสก็ตาม และไม่ต้องทำมากทำมาย  เพราะยอดไม่ได้แปลว่า เยอะแยะ นะจ๊ะ นั่นมันเป็นการเพิ่มปริมาณต่างหาก ค่ะ

        มาจะกล่าวบทไป...ถึงใจกลางกรุงปารีส ที่มีสิ่งก่อสร้างเชิงสัญลักษณ์ใหญ่โต เรียกกันว่า ประตูไซ (ประตูชัย) ชื่อเต็มภาษาฝรั่งเศสว่า Arc de Triomphe de l’Étoile   

ดังภาพ...



ใคร ๆ ก็สามารถพบเอกสารการท่องเที่ยว แนะนำสิ่งก่อสร้างแห่งนี้ ในฐานะแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงในกรุงปารีสได้ ตามเว็บไซด์ท่องเที่ยวมากมายก่ายกอง เช่นที่ Top Paris Sights with a Fun Guide เป็นต้น

อันที่จริง ผู้เขียนก็กำลังเขียน a fun guide…อย่างหนึ่งเหมือนกัน นะเนี่ยะ

ซิ บ่อก ไห่...เด้ออออ


ขอให้ คุณศรัณ ฉุย-ฉุย ได้โปรดไปที่นั่น เพื่อใช้โอกาสจากการอยู่อาศัยในสังคมฝรั่งเศส อันเป็นประชาธิปไตยเต็มใบ โดยประชาชน ของประชาชน เพื่อประชาชน มีสิทธิเสรีภาพร้อยเปอร์เซ็นต์ - ด้วยคำขวัญของประเทศว่า เสรีภาพ-เสมอภาค-ภราดรภาพ (ไม่ใช่ ชาติ-ศาสน์-กษัตริย์  อย่ามัวเข้าใจผิด) 

แล้วลดธงชาติฝรั่งเศสผืนที่เห็นในรูปลง—เชือกชักธงอยู่ด้านล่างครับ ปลดธงชาติมากองไว้กับพื้น เพื่อใช้ประโยชน์กับวีรกรรมลำดับถัดไป...อีดอก (ทอง)

อนึ่ง บนพื้นใต้หลังคาทรงเว้าโค้ง ของประตูชัย มีหลุมจุดเปลวไฟนิรันดร์ดวงเล็กเอาไว้ - เป็นสัญลักษณ์บ่งบอกถึงทหารนิรนาม ผู้ที่ได้ตายไปเพื่อประเทศฝรั่งเศสในสงครามต่าง ๆ

...แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ตามข้อเท็จจริงแล้ว เขาเพียงไปขุดศพทหารนิรนามคนหนึ่ง ในสนามรบสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ซึ่งก็คงจะเหลือเพียงหนังติดกระดูกหรือกระดูกอย่างเดียว มาฝังไว้ที่นั่นพอเป็นพิธี – นี่คือข้อเท็จจริง นะคะ

เพราะฉะนั้น ณ ที่นั้น จึงไม่ใช่สุสานทหาร สไตล์อาร์ลิงตัน ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งฝังศพทหารนับพันนับหมื่น หรืออนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ในกรุงเทพฯ ประเทศไทย หรือสุสานทหารฝ่ายสัมพันธมิตร(ซึ่งส่วนมากเป็น อังกฤษ) ที่ใกล้สะพานข้ามแม่น้ำแคว จังหวัดกาญจนบุรี – จังหวัดนี้อยู่ในประเทศไทย ไม่ได้อยู่ในสก็อตแลนด์ นะจ๊ะ อีบัดซบสัส...

สุสานทหารนิรนามของฝรั่งเศส มีเพียงหลุมเดียว อยู่กับพื้นใต้ประตูชัย ใจกลางกรุงปารีส และจุด ไฟนิรันตร์ เอาไว้ แค่นั้นเอง...จึงง่ายมากที่คุณศรัณ จะไปประกอบวีรกรรมเชิงสัญลักษณ์ที่นั่น ค่ะ

ขอให้คุณศรัณ ไปยืนปัสสาวะรด(เยี่ยว) บนไฟนิรันดร์นั้น

        ครั้นปัสสาวะ(เยี่ยว)สุดแล้ว โปรดใช้ธงชาติฝรั่งเศสที่ปลดลงมาแล้วนั้น แสดงการต่อยอด เพิ่มจากที่ตึกโดม ม.ธรรมศาสตร์ ใช้ธงผืนนั้น ซับน้ำหี... 

        --เขียนอย่างถูกต้องว่า น้ำซับหี นะจ๊ะ ไม่ได้เขียนว่า ซับน้ำหำ  อีดอก...

        ในเชิงสัญลักษณ์ ถือว่า คุณศรัณได้แปลงเพศมาเรียบร้อยแล้ว แม้จะยัง ไม่ได้ทำ sex reassignment surgery ก็ตาม



วันพุธที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2563

ฝรั่งเศสโมเดล ตอน 16 คุณศรัณ ฉุยฉุย - เพราะหวังดีดอก-จึงบอกให้

 

ตอน 16 คุณศรัณ ฉุยฉุย: เพราะหวังดีดอก-จึงบอกให้

 

คุณศรัณ ฉุย-ฉุย ผู้เลอโฉม เป็นผู้ลี้ภัยอยู่ในประเทศฝรั่งเศส รุ่นใกล้ ๆ กันหรืออาจจะรุ่นเดียวกัน กับรศ.สมศักดิ์ เจี๋ยมเจี้ยมกุล และผศ.จรัล เซ่งฮวกไช้ (ชื่อสกุลเดิม)

 

1)   คุณศรัณ ฉุย-ฉุย เขา/เธอ ได้เคยแสดงวีรกรรมที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ระดับชาติ  ด้วยการถ่ายภาพร่วมกับรูปปั้น นายปรีดี พนมยงค์  อดีตผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอดีตนายกรัฐมนตรี ผู้วายชนม์ ผู้มีคุณูปการนานัปการ ต่อมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเธอเคยเป็นนักศึกษา.....และผู้เขียนเองก็เคยเป็นนักศึกษา

โดยในภาพ...เธอได้ใช้มือขวาโอบไหล่ท่านไว้  คล้ายกับกำลังแสดงความพิศวาท พลางชันเข่าซ้ายขึ้น บี้ไพล่ไปทางขวา หนีบหว่างขาเอียงเข้าหาท่าน เป็นท่าร่วมเพศหรือท่ารักร่วมเพศ เผยให้เห็นอาภรณ์ชั้นใน ที่มีเพียงชุดกระโปรงสั้นสีแสด คลุมไว้อย่างไม่สู้จะมิดชิดนัก.....(จบการบรรยายภาพ)

ท่านี้ของเธอ ยั่วโทสะสำหรับบางท่าน แต่ก็ยั่วยุกามารมณ์สำหรับอีกบางคน--ถ้าเธอมี ห.หีบ.จริง ...ซึ่งผู้เขียนไม่สู้จะแน่ใจนัก ในประเด็น ห.หีบ ว่าเธอจะมีจริงหรือไม่

 

เราได้เห็นชัดเจน เห็นอย่างแน่นอน จากการถ่ายทำ ของเขา/เธอ ว่า กางเกงในที่เธอสวมใส่ ไม่ใช่กางเกงในสตรี ชนิดไฮแฟชั่น-ฝรั่งเศสโมเดล-ยี่ห้อ “de Sade” แต่ประการใด – โปรดอ่าน ฝรั่งเศสโมเดล ตอน 14 หวังดี-ไม่หวังดี ก็จะขอเตือน  โดยอ่านข้อความส่วนที่เกี่ยวกับ Marquis De Sade - Ladies Lingerie




ภาพนี้ของเธอ ทำให้เธอได้รับการสรรเสริญจาก ทั้งฝ่ายคิดบวกและฝ่ายคิดลบ ที่ล้าหลังทั้งสองฝ่าย ในประเทศไทย  จึงไม่จำเป็นที่ผู้เขียนจะต้องนำมากล่าวซ้ำอีก ว่า ขาของเธอทั้งขาวและสวย...

ส่วนรูปปั้นท่านผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ก็เป็นรูปปั้นสมัยเขายังหนุ่มแน่น  อยู่ในวัยที่คงไม่แตกต่างจากวัยของเธอ(คุณศรัณ ฉุยฉุย)มากนัก...กำลังพอดีด้วยกัน ว่างั้นเถอะ

 

2)   อีกรูปหนึ่ง คุณศรัณ เธอถ่ายทำ หลังจากที่เธอได้ลี้ภัยไปประเทศฝรั่งเศสแล้ว  สถานที่ ๆ ออกมายืนถ่ายภาพ ก็เป็นระเบียงอาคารประกอบกับหน้าต่างแบบฝรั่งเศส ที่รู้จักกันในนามสถาปัตยกรรมอันเป็นอัตตลักษณ์ ว่า French window คือ เป็นทั้งประตูและหน้าต่างในคราวเดียว ท่านจะสามารถพบเห็น เฟร็นช์ วินโดว์ ได้ตามอาคารริมถนน ทั่วไปในประเทศฝรั่งเศส

 

การถ่ายทำรูปนี้ของเธอ ในบริบทรูปแบบสถาปัตยกรรม เฟร็นช์ วินโดว์ ดังกล่าวนั้น น่าจะเหมาะสมที่สุด เพราะตามรูปลักษณ์กำเนิดภายนอกแล้ว คุณศรัณ ฉุยฉุย เธอเกิดมาเป็นชายและหญิงในคราวเดียว เช่นเดียวกัน

 



        ในภาพลักษณ์ใหม่ภาพนี้ คุณศรัณ ฉุยฉุย เสนอทรงผมกับเสื้อผ้า ที่เมื่อบวกผสมเข้ากับยิ้มสยามอันน่ารักน่าใคร่ (สตรีฝรั่งเศสแท้ จะไม่ยิ้มอย่างนี้) บ่งบอกถึงความเป็นหญิงงามผู้หนึ่งทีเดียวเชียว

...ใคร ๆ เห็นเข้าก็คงจะต้องหลงรักเธอ...รวมทั้งผู้เขียนบลอคนี้ด้วย ถึงแม้ว่าในความเป็นจริง ไม่มีใครสามารถแน่ใจได้จากรูปภาพภายนอก ว่า เธอมี ห.หีบ แล้วยัง?  ผู้ฝันใฝ่ในเธอ“อาจจะ” ต้องสมพาสกับเธอทางทวารหนัก(sadomy) ตามชื่อชิ้นงานอันมีชื่อเสียงของ Marquis de Sade หรือกระทำโอษฐสังวาส (mouth f*ck) นะจะบอกให้ ชะเอิงเงิย ตะละลา.....โอเค ครับ โอเค

 

        เมื่ออยู่เมืองไทย ก่อนไปลี้ภัยในประเทศฝรั่งเศส เธอยังมีลักษณะภายนอกออกแนวชายปนบ้าง ครั้นไปสวมสถานะผู้ลี้ภัยในฝรั่งเศส เธอมีลักษณะเปิดเผยภายนอกเป็นหญิง 100 เปอร์เซ็นต์ ดังภาพ

ซึ่งสำหรับในเมืองไทยแล้วละก้อ...อันที่จริง...คนทั่วไปก็ไม่ได้รังเกียจเดียดฉันท์ กลุ่ม LGBT กันมากมายอะไร--เมื่อเทียบกับสังคมตะวันตก  เพราะคนไทยพากันเห็นว่า เป็นกรรมเก่าของแต่ละคนมากกว่า

อย่างไรก็ดี ผู้ขียนก็ไม่กล้าที่จะเข้าใจเอาเอง ตามอำเภอใจว่า เธอได้แปลงสรีระ เป็นหญิงไปแล้วจริง หรือว่า เธอเพียงแต่กำลังเสนอภาพเชิง “สัญลักษณ์”

 

แต่ ในความหวังดีของผู้เขียน...อะไรก็จะไม่สำคัญเท่า “เนินถันงาม ๆ ที่กำลังตั้งเต้า” ให้เห็นอยู่ในรูปถ่าย...เนินนูน ๆ นั้นงามเหลือ เย้ายวนชวนให้จินตนาการต่อไปว่า เต้านมจริง ๆ ถ้าได้เห็นเต็มเต้าอย่างเต็มตา จะสวยขนาดไหน

กว่า 300,000 รายใน 65 ประเทศทั่วโลก ทั้งที่เป็นหญิงแท้และชายเทียม ต่างล้วนมีปทุมถันไฉไลกันได้ ก็ด้วยการฉีดสาร ซิลิโคน ที่ผลิตโดยบริษัทฝรั่งเศสที่ชื่อ Poly Implant Prothèse (PIP)  นี่เป็นรายงานข่าวของ สำนักข่าวอเมริกัน ซีเอ็นเอ็น

บริษัทดังกล่าว มีสำนักงานตั้งอยู่ที่หมู่บ้าน ลา แซน-ซู-แมร์ (La Seyne-sur-Mer) ตำบล ลา แซน-ซู-แมร์ 1และ2 อำเภอตูล็ง จังหวัดวาร์ ภูมิภาคโปรว้อง-แอลป์-โกต-ดาซูร์ ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส ริมทะเลเมดิเตอเรเนียน

อย่างไรก็ดี ต่อมาพบว่า สารซิลิโคน ของบริษัท PIP ของฝรั่งเศสไม่ได้มาตรฐานสำหรับใช้ฉีดเข้าไปในร่างกายมนุษย์ และถูกห้ามขายในสหรัฐอเมริกา และต่อมาพบว่า สารซิลิโคนดังกล่าวเมื่อฉีดเข้าร่างกายแล้ว ก่อพิษภัยหลายอย่างหลายประการแก่มนุษย์ อาจทำให้มนุษย์ต้องตายอย่างทุกข์ทรมาน...

ในที่สุด บริษัทดังกล่าวก็เจ๊งไป และผู้บริหาร-เจ้าของและผู้จัดการ-โดนคดีหลายคดี รวมทั้งคดีฆ่าคนตาย

ด้วยความหวังดีแท้ ๆ เพราะเกรงไปว่า คุณศรัณ ฉุยฉุย มีโอกาสความเป็นไปได้สูงมาก ที่จะแปลงนมเดิม-ที่ราบแบนแบบชายของเธอ ให้กลายเป็นนมตั้งเต้าของหญิง ด้วยการฉีดสารซิลิโคน ของบริษัทฝรั่งเศสที่ชื่อ Poly Implant Prothèse(PIP) เข้าไป

 

เพราะหวังดีดอก-จึงบอกให้  ชะเอิงเงิย.....ไม่ต้องขอบใจมา นะจ๊ะ

 

-------------------------------------------------------------------------------------

Is it a window or a door?

Interestingly, many people think that a French door and a French window are the same thing, and it would be easy to see why but there are some subtle differences. A true French window is much narrower, with more elegant proportions than the wider, more commonly used French door.



วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2563

ฝรั่งเศส โมเดล ตอน 15 พูดทุกเรื่อง ยกเว้นเรื่องนี้....ทำไม


ตอน 15 คู่ผัวตัวเมีย ปิแยตุ๊ด-อุชเชนี และพวกฝรั่งเศสโมเดล                               พูดทุกเรื่อง ยกเว้นเรื่องนี้...แกล้งโง่กันเปล่า?

 

ยกตัวอย่างเช่น มาดาม อู่ จี้ นิ (มี เงิน นะ) เมียชาวฝรั่งเศสที่พูดเยอรมันได้ ของ ปิแยตุ๊ด ผู้ที่พูดเยอรมันไม่ได้  และยังทำอะไร ที่ มัน ๆ ไม่ได้อีกอย่างสองอย่าง ส่วนจะเป็นอะไรมั่ง ก็ไม่รู้จิ อิ อิ อิ อิ อิ.....

อู่ จี้ นิ แกพูดเรื่องเมืองไทยได้ทุกเรื่อง ไม่เชื่อก็ลองเคาะฟังยูทูปนับสิบ นับร้อย หรืออาจจะเป็นพันหรือหมื่นรายการ ของแกดูเด่ะ  แต่ยกเว้นเรื่องเดียวเกี่ยวกับเมืองไทยที่แกไม่ยอมพูดซะที คือเรื่อง การที่สยามต้องเสียดินแดนห้าครั้งให้แก่ฝรั่งเศส ในช่วงสี่สิบปี ระหว่าง ค.ศ. 1867-1906 (พ.ศ. ๒๔๑๐ – ๒๔๔๙) ซึ่งระยะเวลาดังกล่าวนั้น อยู่ในช่วงสาธารณรัฐที่ 3 ของฝรั่งเศส

        เป็นครั้งแรก นะเนี่ยะ...รู้ป่าววววว?

         ไม่สังเกตจะไม่รู้ มันจะผ่านหงายเงิบไปป่าววววว ๆ คือว่า เป็นครั้งแรก นะเนี่ยะ แทนที่จะเขียนว่า สยามเสียดินแดน ในสมัยรัชกาลที่ห้า แห่งกรุงรัตนโกสินทร์  ประเด็นนี้กลับพลิกประเด็นพูดเสียใหม่ให้ชัด ๆ ตรงกับเรื่องมากก่า ก่า ก่า ว่า สยามเสียดินแดนให้แก่ สาธารณรัฐที่ 3 ของฝรั่งเศส  อิ อิ อิ อิ อิ.....

        ตะแบงประเด็น?  หามิได้ กำลังปิ้งปลาให้สุกทั้งสองข้าง        

        ลำดับการเสียดินแดนสยาม ให้แก่สาธารณรัฐที่ 3 ของฝรั่งเศส เป็นดังนี้

        1867 เสีย เขมรส่วนล่างอันเป็นเขมรส่วนใหญ่ ติดกับญวณ

        1888 เสีย เสียแคว้นสิบสองจุไทย (อยู่ทางตะวันตกของญวณเหนือ)

1893 เสีย ดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง (หันหน้าไปทางปากน้ำ อยู่ด้านซ้ายมือ ซึ่งก็คือ ประเทศลาวเกือบทั้งประเทศในปัจจุบัน)

1903 เสีย ดินแดนฝั่งขวาของแม่น้ำโขง (คือ ดินแดนเสี้ยวหนึ่งที่อยู่ตรงข้ามกับเมืองหลวงพระบาง)

1906 (และก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพียงแปดปี) เสีย จังหวัดพระตะบอง                           เสียมราฐ และศรีโสภณ คือดินแดนตอนเหนือของทะเลสาบเขมร ติดกับ                        ชายแดนไทยปัจจุบัน)


        จะไปกล่าวหา “ด่าว่า”  มาดาม  “ซ้อ” อู่ จี้ นิ ข้างเดียวก็คงจะไม่ถูก ก็เมื่อนิตยสาร “สารคดี” อันมีชื่อเสียงของเสี่ยเบ๊นซ์ เจ้าของอุทยานอิงประวัติศาสตร์  ”เมืองโบราณ” ดำเนินการสัมภาษณ์มาดาม “ซ้อ” เป็นวรรคเป็นเวร  ตั้งคำถามแทบทุกเรื่อง ยกเว้นเรื่องนี้เรื่องเดียวที่ “สารคดี” ไม่ถาม

        เมื่อไม่ถาม จะให้ตอบกะผี อะไรเล่า

        ประเด็นที่ว่านี้ เป็นเรื่องเดียวเกี่ยวกับเมืองไทย ซึ่งมาดาม “ซ้อ” อู่ จี้ นิ ไม่เคยพูดเลย ไม่ว่าจะก่อนหน้านั้น หรือหลังจากนั้น หรือว่าก่อนหน้าไหน หรือหลังจากไหน

        ทั้ง ๆ ที่เรื่องนี้ เราจะไม่มีวันได้รับคำตอบจากใคร ดีเท่ากับที่เราจะถามเอาจากคนฝรั่งเศส ผู้เชี่ยวชาญเรื่องเมืองไทย เช่น มาดาม อู่ จี้ นิ เป็นต้น


อีกประการหนึ่ง ในปี ค.ศ. 2012 University of Toronto ประเทศคานาดา ได้ให้ทุนอุดหนุน เพื่อแปลงเป็นรูปแบบดิจิตัล ซึ่งเอกสารสำคัญเกี่ยวกับ อินโดจีนของฝรั่งเศส 

และต่อมาในปี 2018 (อีกแล้ว)ที่ Getty Research Institute ก็ได้ให้ทุนอุดหนุน กิจกรรมเดียวกันนั้นกันต่อมา

เช่น เอกสารชื่อ “Mission Pavie Indo-Chine, 1879-1895: Géographie et voyages” (ภารกิจ ปาวี อินโด-จีน 1879-1895: ภูมิศาสตร์ และ การเดินทาง)  Digitized by the Internet Archive (with funding from University of Toronto, 2012) เอกสารฉบับนี้มีจำนวน 558 หน้า ว่าด้วยกิจกรรมของอดีตกงสุลฝรั่งเศสประจำกรุงเทพฯ ที่คนไทยรู้จักกันอย่างเกลียดชังในนาม “ม. ปาวี”




หรือเช่น เอกสารชื่อ “MISSION PAVIE, INDO-CHINE, ATLAS, Notices et Cartes “ (ภารกิจ ปาวี อินโด-จีน แผนที่ ข้อสังเกต และ แผนภาพ) Digitized by the Internet Archive (with funding from Getty Research Institute, 2018) เอกสารฉบับนี้มีจำนวน 78 หน้า เป็นต้น...

เป็นต้น (เป็นต้น แปลว่า ยังทีอีก นะจ๊ะ)

กระทรวงอาณานิคม Ministere des Colonies ซึ่งเมื่อ ค.ศ. 1946 เปลี่ยนชื่อเป็น Ministere des Outre-mer ก็ได้ขนเอกสารเก่า ขึ้นอินเตอร์เนต เปิดเผยไปแล้ว อื้อซ่า (อื้อซ่า แปลว่า จำนวนมาก)

        ปฏิวัติฝรั่งเศส 1789 เกิดขึ้นแล้วตั้ง 104 ปีก่อนเกิด เหตุการณ์ร.ศ.112 หรือเรียกกันในต่างประเทศว่า สงครามฝรั่งเศส-สยาม  1893

        ฝรั่งเศสเป็นประชาธิปไตยแล้ว ครับ

        ดัง มาดาม อู่ จี้ นิ และ ปิ แย ตุ๊ด จะเห็นได้ว่า กรณีพิพาทกับราชอาณาจักรสยาม เรื่องเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาฝรั่งเศส ตามระบอบประชาธิปไตย เมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2435  (อีกนัยหนึ่ง รศ. 111)

คำถามมีว่า:

โดยความเห็นชอบของรัฐสภาฝรั่งเศส ระบอบประชาธิปไตยฝรั่งเศส ใช้หลักประชาธิปไตย โดยประชาชน ของประชาชน เพื่อประชาชน  และหลัก เสรีภาพ-เสมอภาค-ภราดรภาพ ข้อใด มาแย่งชิงดินแดนเอาไปจากสยาม  รัฐสภาฝรั่งเศส ได้สอบถามความเห็น จากประชาชนชาวสยามแล้วหรือยัง?


วันเสาร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2563

ฝรั่งเศสโมเดล ตอน 14 ชุดชั้นใน เดอ ซาด

 ตอน 14 หวังดี-ไม่หวังดี ก็จะขอเตือน

มิตรสหายชายหญิง โดยเฉพาะสหายหญิง ห้องนี้ ห้องอื่นช่างมัน ไม่ใช่เพื่อนฉัน

ครั้นได้ชม ชุดชั้นใน โมเดลฝรั่งเศส ของห้าง de Sade กันแล้ว

เชิญชมสินค้าครับ ไม่ซื้อ ไม่ว่า...


Marquis De Sade - Ladies Lingerie
MARQUISDESADE.COM.AU
Marquis De Sade - Ladies Lingerie
Welcome to Marquis De Sade. Browse our unique collection of quality custom hand made genuine Corsets, and finest quality ladies and menswear, accessories and costumes.


หากชอบใจ สั่งซื้อ ออนไลน์ มาสวมใส่ เพราะคิดว่า ใหน ๆ ก็เกิดมา กะเขาแล้ว ชาติหนึ่ง...

ขอเตือน ด้วยหวังดีสุด ๆ ว่า ก่อนจะออกไปเดินโชว์ตามห้าง หรือที่สถานีขนส่งสายเหนือ-ใต้-ตะวันออก

โปรดสวมชุดชั้นนอก ตามปกติ ทับไว้ก่อนนะคร้าบบ