Critique and analysis
--
บทบรรยายวีดีโอ
ของ คุณวิกรม กรมดิษฐ์
https://www.youtube.com/watch?v=nOBoPeHIg5A#t=12
หรือที่
http://pricha123.blogspot.com/2014/01/blog-post_6568.html
https://www.youtube.com/watch?v=nOBoPeHIg5A#t=12
หรือที่
http://pricha123.blogspot.com/2014/01/blog-post_6568.html
คำ-ต่อ-คำ
สวัสดีครับ ท่านผู้ชมครับ ตอนนี้ผม
มาอยู่เมือง ๆ นึงนะครับ ถือว่าเป็นเมืองของคนจีนชาวแคะ
บ้านข้างหลังนั่นนะคับ ถือว่าเป็น
วันนี้
ผมอยากจะมาพูดถึงคนจีนแคะ สักนิดนึงนะคับ
ว่ามีพื้นเพ มีเบื้องหลัง มีที่มา
ในอดีตกาลคับ
คนแคะนั้นถือว่าเป็นคนที่เรียกว่าอพยพคับ เมื่อ
นั่นก็คงเป็นสาเหตุนะคับ
ที่วันนี้ในทำไมชาวแคะถึงไปเกี่ยวข้องกับการเมือง ถึงได้ไปเป็นผู้นำทางด้านการเมือง ตั้งเยอะแยะขนาดนั้น
นั่นก็คือเหตุผลที่ว่า
นี่ก็คือพื้นฐานที่ทำให้คนแคะนั้น เป็นคนที่มุ่งมั่นต่อสู้ แล้วก็เป็นคนที่อดทน เป็นคนที่มัธยัสถ์
เป็นคนที่
--จบ บทพากย์วีดีโอ คำต่อคำ ของคุณวิกรม กรมดิษฐ์
ลิงก์ไปวีดีโอต้นฉบับ ของคุณวิกรม กรมดิษฐ์ ครับ
http://www.pricha123.blogspot.com/2014/01/blog-post_9.html
“เบื้องหลัง-พื้นเพ-และที่มาของคนแคะ”
แน่จั๋ย?
--วิจารณ์ บทวีดีทัศน์เกี่ยวกับคนแคะ ของ คุณวิกรม
กรมดิษฐ์
--
ภาษาแคะ กับ ภาษาไทย คล้ายกันอยู่อย่างหนึ่ง
คือต่างก็มีคำควบกล้ำด้วยกันทั้งสองภาษา ข้อเท็จจริงนี้ช่วยให้การวิจารณ์บทพากย์วีดีโอคุณ ผู้วิจารณ์ซึ่งเป็นคนรักภาษามนุษย์
รู้สึกขอบคุุณและสำนึกบุญคุณทั้งภาษาแคะและภาษาไทย
ไตเติลวีดีโอคุณ“การมองโลกแบบวิกรม” ประกาศให้ผู้ชมรับทราบทั้งด้วยภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว ส่วนดนตรีประกอบน่าตื่นเต้น
ปลุกระดม กระตุ้น เร้าใจ คล้ายเพลงประกอบข่าวล่าหรือข่าวสด
ภาพคุณหรือว่าจะเป็นชาติหน้้า –
ก็ไม่รู้เหมือนกัน
สารคดีวีดีทัศน์รายการนี้ คุณ
“เบื้องหลัง-พื้นเพ-และที่มาของคนแคะ” คือเนื้อหารายการ เป็นประเด็นที่น่าสรรเสริญ เพราะคุณวิกรม
กรมดิษฐ์ จะสรุุปภูมิหลังเชิงลึก ที่นัยว่านานกว่าสองพันปีของคนแคะ ทอนให้เราได้ชมในเวลาสั้น ๆ ประมาณสี่นาที โลกไซเบอร์ที่ทุกอย่างกำลังถูกนับเวลาเป็นวินาทีนาโน งานนี้จึงน่าชื่นชม
ระทึกใจไม่น้อย สำหรับผู้วิจารณ์ซึ่งไม่ได้มีประสบการณ์เกี่ยวข้องกับคนแคะด้วยตนเองโดยตรง เคยแต่ได้ยินผู้ใหญ่เชื้อสายฮกเกี้ยนเล่าให้ฟัง
เป็นนิทานปรัมปราเกี่ยวกับคนแคะ คำเล่าขานโบราณดังกล่าว คงจะถ่ายทอดสืบต่อมานานในหมู่ชนที่มีอคติแรงต่อคนแคะ เพราะฉะนั้น เราก็คงจะต้องฟังหูไว้หู ไม่รับเอาไว้เหมือนรับเงินสด
คงจะต้องรับมาเหมือนรับเช็ค ที่มีสิทธิจะเด้งได้ เรื่องเล่ามีว่า --
ผ่านเข้ามาทางหน้าหมู่บ้าน คนเฒ่าคนแก่จะร้องบอกให้ลูกหลาน
ปิดประตูหน้าต่าง รอจนกว่ากองคาราวานคนแคะจะผ่านพ้นไป
เมื่อขบวนคนแคะคล้อยหลังออกไปทางท้ายหมู่บ้านเรียบร้อยแล้ว
จึงค่อยเปิดประตู
เปิดหน้าต่าง.....
ท่านขมวดปมติดตลก ขำขัน แต่แฝงความมีอคติต่อคนแคะ
ว่า --
!
ความเห็นสรุปดังกล่าว - ซึ่งท่านจดจำมาอีกต่อหนึ่ง
จะถือเป็นความคิดปัจเจกชนคงไม่ได้ อย่างไรก็ดี
นิทานโบราณเรื่องนี้สอนลููกสอนหลานว่า
ผู้วิจารณ์จะได้หยิบยกเรื่องราวที่คนอื่น ๆ ผู้มีอคติเกี่ยวกับคนแคะ
ขึ้นมากล่าวต่อไป พอหอมปากหอมคอ ไม่เว่อ ในเนื้อหาของการวิจารณ์
เพื่อความยุติธรรมแ่ก่ทุกฝ่าย สมดังคำีครูที่ว่า
--
Stories or narratives have been
shared in every culture as a means of entertainment, education, cultural preservation and to
instill moral values.
นิทานและเรื่องเล่า
มีอยู่ในแต่ละกลุ่มวัฒนธรรม เป็นการบันเทิง เป็นการอบรมสั่งสอน อนุรักษ์วัฒนธรรม
และเพื่อบ่มเพาะศิลธรรม-ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี
กระนั้นการพูดรวม ๆ เหมาปลาทั้งข้อง
นอกจากจะไม่ยุติธรรมแล้ว ก็ยังไม่ตรงต่อข้อเท็จจริงของโลก ผู้วิจารณ์มีมิตรคนแคะ เธอมีอัธยาศัยไม่ตรีเราคบกันมานานปีกระทั่งบัดนี้ กับบ้านผู้วิจารณ์ทั้งเมื่อยังอยู่กรุงเทพฯและที่ปักษ์ใต้
เราก็ไปมาหาสู่กัน
มิตรภาพของเธอกอร์ปด้วยความหวังดีและน้ำใสใจจริง ซึ่งผู้วิจารณ์ซาบซึ้ง ระลึกถึงด้วยความขอบคุณเสมอ
จบการวิจารณ์และวิเคราะห์
ตอนที่ 1 ศุกร์ที่ 17 มกราคม 2557
(-- ยังมีต่อ สุุดสัปดาห์น้าครับ)
(-- ยังมีต่อ สุุดสัปดาห์น้าครับ)
วิเคราะห์-วิจารณ์-และทำความเห็นทีละประเด็น
หนึ่ง. ประเด็นการถอยร่นมาเรื่อย ของคนแคะ
ผู้วิจารณ์เห็นว่าประเด็นนี้ เป็นเพียงสมมติฐานทางประวัติศาสตร์สมมติฐานหนึ่ง
ในบรรดาข้อสันนิษฐานหลายประการ ที่ท่านผู้รู้ชาวแคะและผู้รู้อื่น ๆ ประมวลไว้ จัดว่าเป็นประเด็นย่อยอยู่ในเรื่องที่ใหญ่กว่า
คือเรื่อง
ปัญหาที่ว่าคนแคะมาจากไหน เป็นปมที่ลึกลับปมหนึ่งในประวัติศาสตร์จีน“ที่มาและการอพยพของคนแคะ”
แต่ว่า เอกสารชิ้นนั้น ค้นคว้าเขียนขึ้นในโลกสมัยก่อน
ซึ่งนักวิชาการยังแยกไม่ออกว่า
สมัยปัจจุบัน ท่านแยกกันเด็ดขาดแล้วว่า ชาติพันธุ์(race)เป็นเรื่องชีวะวิทยาethnicity)เป็นเรื่องสังคม-วัฒนธรรม
เช่น คนไทยเชื้อสายจีน โดยเผ่าพันธุ์ถือว่าเป็นคนไทย--หรือคนเผ่าไทย เขาอยู่ในเผ่าพงศ์นี้ethnicity)ผู้วิจารณ์เป็นคนไทยร้อยเปอร์เซ็นต์
ปัจจุบัน การศึกษาเชิงชีวะวิทยาประวัติศาสตร์
ได้อาศัยความก้าวหน้าของศาสตร์เกี่ยวกับดีเอนเอมาช่วยไขเงื่อนงำสำคัญ ๆ หลายอย่างทั้งประวัติศาสตร์โบราณและประวัติศาสตร์ดึกดำบรรพ์
ยกตัวอย่างเช่น เครื่องสแกนเนอร์ ประกอบกับการศึกษา
ดีเอนเอ จากมัมมี่ ทำให้เราทราบค่อนข้างแน่ชัดเมื่อไม่นานมานี้ว่าฟาโรห์
ตูตังคาเมน ของอีจิปต์โบราณ ซึ่งตายตั้งแต่ยังอายุสิบแปดปีนั้น
อีกตัวอย่างหนึ่ง เมื่อไม่นานมานี้ มีการพิสูจน์ดีเอนเอของหัวใจมนุษย์ที่ดองอยู่ในโหล
ดีเอนเอ ที่น่าทึ่งอีกเรื่องหนึ่งก็คือ
เมื่อไม่นานมานี้ ทฤษฎีเก่าที่ว่า มนุษย์โครมันญ็อง --
ซึ่งก็คือเชื้อสายเดียวกันกับคนปัจจุบัน“ลิง” คนละพันธุ์กันprint)ดีเอนเอแบบมนุษย์นีแอนเดอธาล อยู่ในคนยุโรป คนจีน รวมถึงคนในปาปัว นิวกินี
ด้วย
สามเรื่องนี้ยกขึ้นเป็นอุทาหรณ์
ว่าประวัติศาสตร์ใกล้และไกลนับหมื่นปี -- เช่นกรณีนีแอนเดอร์ธาล --
วิทยาการสมัยใหม่ช่วยตีประเด็นให้แตกได้
ธรรมเนียมของการเล่าเรื่อง “คนจีน” ทางใต้แม่น้ำแยงซีนั้น“โรแมนติคเกินเหตุ” Young
men go West ของอเมริกัน“ตัดสินใจ” ข้ามแม่น้ำแยงซีลงใต้ มายังฝั่งกะนี้“ลิง” ทั้งหลายที่อยู่ใต้แม่น้ำแยงซีมาชั่วกัปชั่วกัลป์
ในอินเดียก็มีอะไรคล้าย ๆ แบบนี้ แต่เป็นไปในอีกมิติหนึ่ง
คือพากันคิดว่าภาษาสันสกฤตเป็นมารดาของภาษามนุษย์ทั้งปวง
บนเกาะชวาก็มีเรื่องโรโรจงรัง
ที่ชาวบ้านแต่งตำนาน ผนวกเข้ากับเทวาลัยพราห์มณัน
ผู้วิจารณ์เห็นว่า ประเด็นการ “ล่นถอยมาเลื่อยของคนแคะ”
คุณวิกรม กรมดิษฐ์
กำลังมีปัญหาสับสนเรื่องการเลือกใช้ข้อมูล – รึเปล่า?
สอง. การอยู่อาศัยในตึกดินเหมือนป้อมปราการ
เพื่อป้องกันโจรผู้ร้าย กับกันสัตว์ร้าย
การอยู่อาศัยรวมกันในตึกดินขนาดใหญ่
ราวกับป้อมปราการ หรือที่เรียกว่า -- 土楼
แม้แต่ชื่อ “อาคันตุกะ” ซึ่งผู้วิจารณ์เห็นว่า
พูดจาทันสมัย
รากคำในภาษาจีนกลางของคำว่า แคะ หมายความว่า
ผู้เป็นสมาชิกในครอบครัวผู้มาเยือน
คำว่า แคะ สำหรับคนแต้จิ๋ว คนกวางตุ้ง คนฮกเกียน
และคนไหหลำ“โปรดถอยไปห่าง ๆ”
อยู่ด้วยเสมอ“รู้มั๊ย เขามีแซ่ยาวมาก คือ
แซ่ห่างไว้ดีกว่า”
สารคดีของคุณวิกรม กรมดิษฐ์
ไม่ได้ให้ความกระจ่างเกี่ยวกับบ้านป้อมปราการของคนแคะ
สาม. การอยู่อาศัยรวมกันในตึกดินคล้ายป้อมปราการ คือเหตุผลที่บ่มเพาะให้ คนแคะ มีคุณสมบัติดี
ๆ หลายประการ ดังต่อไปนี้
3.อดทน
4.ขีดความสามารถที่จะพัฒนาทุกสิ่งทุกอย่าง
ทั้งทางธุรกิจ
ทางตอนเหนือของมณฑลกวางตุ้ง บริเวณต่อแดนกับมณฑลฮกเกียน
ประวัติศาสตร์ไม่ได้บันทึกไว้เลยว่า แถวนั้นเสือชุม หรือว่ามีช้างป่าอาละวาด
เพราะฉะนั้น รูปแบบความเป็นอยู่สไตล์อะพาร์ทเมนต์เอื้ออาทรตึกดินขนาดยักษ์ เช่นที่เราเห็นเป็นแบคกราวด้านหลังคุณวิกรม กรมดิษฐ์
ในยามที่คนอยู่อาศัยกันเต็มอัตรา
การสร้างที่อยู่อาศัยลักษณะนั้น
คำถามมีว่า แล้วใครเล่าที่เป็นภัยต่อคนแคะ
คอยรบกวนรังควาญ ทำให้คนแคะต้องป้องกันตัวถึงขนาดนั้น?
ประวัติศาสตร์การทะเลาะวิวาทในท้องถิ่นแถบนั้นระบุว่า
การแย่งที่ดินทำกินเป็นเหตุแห่งการบาดหมางเหตุหนึ่ง
ประเด็นนี้ทำให้ผู้วิจารณ์ต้องทดลองคิดใหม่ทำใหม่
และคิดนอกกรอบ
ผู้วิจารณ์ มีญาติอยู่อาศัยบนเขา ที่อำเภอสวี
จังหวัดชุมพร
การทำกินที่นั่นในสมัยก่อน
เขาจะลงมาทำนากันในที่ราบตีนเขา
ตอนยังเด็ก เวลาเดินทางไปที่นั่น
แม่จะพามาลงรถไฟ(หัวรถจักรไอน้ำ ใช้ฟืนต้มน้ำ)ที่ตัวอำเภอสวี
นอนค้างที่นั่นหนึ่งคืน รุ่งเช้าออกเดินแต่หัวรุ่ง ไปถึงหมู่บ้านในเขาที่ตำบลเขาล้านราวย่ำค่ำ
เคยได้ฟังจากผู้ใหญ่ในกรุงเทพฯท่านหนึ่ง
ท่านสอนอยู่ในคณะสถาปัตย์ มหาวิทยาลัยมีชื่อ
จึงน่าจะเป็นสาเหตุให้คนแคะบางคน -- ไม่ใช่ทุกคน
ซึ่งข้อสรุปของผู้วิจารณ์จะไม่ตรงกับข้อสรุปของคุณวิกรม กรมดิษฐ์ คือ :--
“ที่ทำกิน”
neuron
network) ที่ไวต่อการวิวาท “ต่อสู้” “ชอบวิวาทเป็นนิสัย” หรือ “ขี้มีเืรื่อง”
เพราะว่าชีวิตคลุกคลีมั่วอยู่แต่ในหมู่พวกเดียวกันเอง ทำให้คนแคะจำนวนมากขาดวัฒนธรรมเรื่องการเอื้ออาทร
ไม่ต้อนรับใคร“ใครมาถึง เรือนชาน ต้องต้อนรับ ” “ไม่มี”
สี่. ความจริงทางสังคม-วัฒนธรรม ที่คุณวิกรม กรมดิษฐ์ สรุปไว้ว่า คนแคะเป็นผู้ที่มีวัฒนธรรม อารยธรรม
เพราะว่าขาดวัฒนธรรมเรื่องการต้อนรับขับสู้ สาเหตุจากการอยู่กันแต่ในสังคมหมู่พวกเดียวกันเอง
อารยธรรมหมายถึงการอยู่รวมกันเป็นบ้านเมือง
มีการเมืองการปกครองเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ไม่ใช่เฉพาะเรื่องการอยู่อาศัย การทำกิน อัธยาศัยของผู้คน
การไหว้เจ้า การจัดวางวัตถุมงคล ประเพณีเกี่ยวกับฮวงซุ้ย หรือการร้องรำทำเพลง --
เหล่านี้ที่เป็นเรื่องวัฒนธรรม
การอยู่รวมกันกับหมู่พวกเดียวกันเอง
ในตึกดินหลังใหญ่โตมหึมา ยังถือไม่ได้ว่าอยู่ร่วมกันเป็นบ้านเมือง(มีอารยธรรม)“สร้างบ้าน”
“แปงเมือง”
อย่างไรก็ดี เราก็จะปฏิเสธไม่ได้ ว่า
ในตึกดินหลังนั้นไร้การปกครอง หรือว่าปราศจากการเมือง
เมืองไทยจากเหนือจรดใต้สุด ระยะทางราว 1600 กิโลเมตร
ผู้วิจารณ์เคยนั่งรถไฟกลางคืน ถ้าจำไม่ผิดเป็นรถด่วนสะนันดุงบาลัม
จากตุมปัต เหนือสุดของมาเลเซีย รัฐกะลันตัน
สิงห์คโปร์ มีผู้แทนราษฎรราว 85 คน
แต่แม้ว่าขนาดเล็กอย่างนั้น
ในตึกดินเอื้ออาทรของคนแคะ คุณวิกรม กรมดิษฐ์ คงไม่กล้ายืนยันนะว่า
มีคนมุสลิมอยู่ในอาคารเอื้ออาทรหลังนั้นด้วย
เป็นไปได้ไหมว่า ประเทศสิงห์คโปร์ อันเป็นตัวอย่างของอารยธรรมแบบแคะ
-- 土楼 –
ใช่มั๊ย?
ห้า. สาเหตุที่ประเทศจีนวันนี้ มีผู้นำเป็นชาวแคะ รวมทั้งในประเทศเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ มีผู้นำที่เป็นคนแคะ
ตามข้อเท็จจริงที่ว่าทั้ง
กรณี เติ้ง เสี่ยวผิง ยังต่างจากผู้นำจีนคนอื่น
ๆ ส่วนมาก ตรงที่ เติ้ง เสี่ยวผิง มีประสบการณ์ส่วนตัวเล็ก ๆ กับสิงค์โปร์
แต่ผู้วิจารณ์รู้สึกแปลกใจตรงที่เมื่อ เติ้ง
เสี่ยวผิง พบกับ ลี กวนยู ในพ.ศ.2521 ขณะที่เมืองจีนเริ่มเปิดประเทศ
ปรากฏว่าระหว่างการสนทนา จะมีล่ามนั่งอยู่ด้วยเสมอ เป็นล่ามของ เติ้ง
เสี่ยวผิง
ระยะหลัง ๆ นี้ ลี กวนยู รู้สึกว่าจะหันไป “เป็นจีน”
เกี่ยวกับการปรับปรุงโครงสร้างเศรษฐกิจและเปิดประเทศจีันนั้น
พ.ศ.2521 เติ้ง เสี่ยวผิง ได้กล่าวสรรเสริญ ลี
กวนยู ที่ประสบความสำเร็จในการพลิกโฉมสิงห์คโปร์ โดยกล่าวว่า ตนเคยแวะที่สิงห์คโปร์ตอนเดินทางไปฝรั่งเศสเมื่อพ.ศ.2463garden
city)
ต่อคำชมดังกล่าวนั้น ลี กวนยู กล่าวตอบว่า สิ่งที่เขาทำได้กับสิงห์คโปร์
เมืองจีนสามารถทำได้มากกว่า และทำได้ดีกว่า
ต่อมาเมื่อพ.ศ.2535 เติ้ง เสียวผิง เดินทางไป
เสินเจิ้น ซึ่งสมัยนั้นยกขึ้นเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่ เพื่อทดลองระบบเศรษฐกิจเสรีนิยม
ในระยะแรกของการเปลี่ยนแปลงในเมืองจีน
ถ้าผู้วิจารณ์จำไม่ผิด
มีข้าราชการและเจ้าหน้าที่จีนเดินทางมาศึกษาดูงานกันที่สิงห์คโปร์นับเรือนหมื่น
1) ตัวละครไม่ใช่
เติ้ง เสี่ยวผิง กับ ลี กวนยู
2) ทั้งคู่ไม่ได้เป็นคนแคะด้วยกัน
เหตุการณ์เช่นนี้คงจะไม่เกิดขึ้น
ผู้วิจารณ์จำไ้ด้้(เคยอ่านเจอ)ว่า เมา เซตุง
เคยพูดเกี่ยวกับ เติ้ง เสี่ยวผิง ว่า “อย่าไปดูถูกว่าเขาตัวเตี้ยแมะแคะ
คน ๆ นี้เขาเป็นคนมีหัวคิดดี”
และโดยบังเอิญ คำว่า “แคะ” ในวลี “เตี้ยแมะแคะ”
ในภาษาไทยนั้น“แคะ”
ในสำนวนดังกล่าวนั้น มาจากคำว่าคนแคะ“ไทยเล็ก-เจ๊กดำ คบไม่ได้”
ผู้วิจารณ์เคยมีสหายอาวุโสผู้หนึ่ง
ซึ่งผิวพรรณออกคล้ำเล็กน้อย ต่อมาท่านก็มีตำแหน่งราชการงานเมืองใหญ่โต“สิงห์คโปร์” เป็นชาติพันธุ์จีนชนิดใหม่อีกชาติพันธุ์หนึ่ง
กรณีนี้ เข้าใจเอาเองว่า
ท่านคงอยากอัีพเกรดเชื้อสายจีนของท่าน ให้ทันสมัย เป็นสมัยใหม่ไฮโซ ไม่โบราณปนกับชาวบ้าน“สิงห์คโปร์”
หก.
ปริศนาที่ว่า
ทำไมชาวแคะถึงไปเกี่ยวข้องกับการเมือง
1)
ลักความยุติธรรม
2)
ลักสงบ
ใครศึกษาเรื่องขบถไต้ผิง โดยมองข้าม
“ความเป็นแคะ” ของหัวหน้าขบถและพวกแกนนำ“พวกเสื้อแดง”
โดยไม่ศึกษาเรื่องขบถไต้ผิง นักศึกษาผู้นั้นก็กำลังเสียเวลาเปล่า เช่นเดียวกัน
นานมาแล้ว ในชั่วโมงวิชาอารยธรรมตะวันออก คณะศิลปะศาสตร์
มหาวิทยาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้วิจารณ์มีโอกาสได้ยินได้ฟังเรื่อง ขบถไต้ผิง
เป็นครั้งแรกจากอาจารย์ประจำวิชา
คือ อาจารย์เพชรี
สุมิตร โดยที่ท่านก็บรรยายถึงขบถไต้ผิงโดยละเลยประเด็น
“ความเป็นแคะ” ของหัวหน้าขบถและพวกแกนนำ
ต่อมาหลังจากนั้น ในชั่วโมงรัฐศาสตร์The University of Chicago ผู้วิจารณ์ก็ได้พบกับหนังสืออ่านประกอบเล่มหนึ่งชื่อ
ซึ่งถ้าเรามีพื้นความรู้เกี่ยวกับการเกษตรแบบปวดหลังปวดเอวของชาวแคะ
ก็น่าจะช่วยให้เราเข้าใจประเด็นได้ ไม่มากก็น้อย
สำหรับ อาจารย์เพชรี สุมิตร ท่านอาจจะไม่รู้จักคนแคะเลยด้วยซ้ำว่า
“คนแคะคือใคร”
ปริศนาที่ว่า
ทำไมคนแคะเข้ามาเกี่ยวกับการเมืองมากขนาดนั้น ของคุณวิกรม กรมดิษฐ์
ผู้วิจารณ์รู้สึกชื่นชมว่า คุณวิกรม
กรมดิษฐ์ ช่างตั้งข้อปุจฉาได้ดีแท้ แม้กระนั้น ถึงปุจฉาจะดี แต่ก็มีการวิสัชนาที่เลว
เพราะว่า
คนแคะระดับผู้นำและแกนนำทางการเมืองคนเด่นคนดังในเมืองไทย ไม่ได้
“ลักความยุติธรรม”
และเนื่องจากว่า
คนรักสงบคงไม่ก่อกบฏโดยวิธีที่ไม่อหิงสา
และคนเราถ้าเป็นนักการเมืองที่รักสงบ
คงไม่เผาบ้านเผาเมือง ฆ่าคนเป็นพัน ๆ โดยจัญไรอุตริคิดโปรเจ็คสงครามกับยาเสพติด –
ที่ล้มเหลวแล้วในสหรัฐอเมริกา – ขึ้นมาบังหน้า
การเป็นนักการเมืองที่รักความยุติธรรมและรักสงบ
เขาน่าจะเข้ามาทำงานการเมืองเพื่อ serving the country and the people
แต่...สำหรับหัวหน้าขบถไต้ผิง เขาเป็นเพียง a
self-serving bastard
เหตุที่คนแคะบางคน
สนใจที่จะเข้ามากุมอำนาจทางการเมือง ก็เพราะว่า คนแคะเป็นชาติพันธุ์ที่ถูกกดขี่
ข่มเหง รังแก และเป็นที่รังเกียจเดียดฉันท์กว่าใคร ๆ ในเมืองจีน -- ใช่เปล่า?
สรุป
– ทำความเห็น – และเสนอแนะอย่างสร้างสรรค์
1)
ถ้าเราได้ลองศึกษาเรื่องราวของคนแคะ
คนแคะผู้ร่ำรวยบางคนในเมืองไทย เช่น คุณวิกรม กรมดิษฐ์ เป็นต้น ผู้ลงทุนในต่างประเทศอย่างเป็นล่ำเป็นสันvintage cars
ผู้วิจารณ์ขอเสนอแนะว่า ถ้าคุณวิกรม กรมดิษฐ์
ได้ลองหันมาให้ทุนทำการศึกษาวิจัยอย่างลึกซึ้ง ถึงตำนาน คำบอกเล่า เกี่ยวกับคนแคะ
เพื่อบันทึกไว้เป็นความทรงจำของสังคม ก็จะดีไม่น้อยAnthropology นิยมทำงานวิจัยชนิดนี้
เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย ก็ไม่จำเป็นต้องเดินทางไปวิจัยในเมืองจีน
ผลการวิจัยน่าจะเชื่อถือได้
มากกว่าคำบอกเล่าเพียงกรณีเดียวโดด ๆ ที่ผู้วิจารณ์ยกขึ้นมาจั่วไว้ตอนต้น และเราจะได้ทราบกันชัด ๆ
สักทีหนึ่งอย่างเป็นวิชาการว่า คนชาติพันธุ์อื่น ๆ เขาคิดเห็นในทางลับหลังเกี่ยวกับคนแคะว่าอย่างไรบ้าง
อย่างไรก็ดี เพื่อความยุติธรรม ตามประสาคนรักความยุติธรรม(แม้จะไม่ได้เป็นแคะ)
และในทางลับหลังเช่นเดียวกัน
การทำวิจัยด้วยการสัมภาษณ์สอบถามความเห็นจากคนแคะ
คุณวิกรม กรมดิษฐ์
อาจจะต้องยอมเปลืองค่าใช้จ่ายบ้าง จะหลับหูหลับตามัธยัสถ์หาได้ไม่ เพราะคนแคะอยู่กันอย่างอบอุ่นทางภาคเหนือและอีสาน
เช่น ตั้งแต่อำเภอบ้านไผ่ขึ้นไป คนในเมืองจะเป็นคนแคะกันมาก
2)
มีที่มาอย่างไล
ระหว่างศึกษา วิเคราะห์
และทำความเห็นต่องานของคุณวิกรม
กรมดิษฐ์ เกี่ยวกับคนแคะว่า “มีพื้นเพ มีเบื้องหลัง
มีที่มาอย่างไล” เอกสารหลาย ๆ
ชิ้นที่ได้อ่านทำให้ผู้วิจารณ์เกิดความระแวงขึ้นมาในใจ
และปรารถนาจะตั้งข้อสังเกตไว้ สองประการ คือ :-
·
นักวิชาการคนแคะหลายท่าน ชอบอ้างว่า
คนแคะมีถิ่นกำเนิดอยู่ในลุ่มน้ำหวงเหอ
·
นักวิชาการคนแคะหลายท่าน ชอบอ้างว่า
คนแคะเป็นคนชาติฮั่น
ลุ่มน้ำหวงเหอ หรือที่ภาษาจีนกลางเรียกว่า 中原 – จุ้งหยวน การเมืองการปกครอง และกินความรวมถึงจิตวิญญาณที่เป็นจีน
中原 – จุ้งหยวนถ้าพิจารณาด้วยจิตใจคนไทยเช่นผู้วิจารณ์และมิตรสหายบางคน
ซึ่งถ้าจะเทียบกับอินเดีย ก็คือดินแดนลุ่มน้ำคงคง-ยมุนาในยุคโบราณ
ที่เรียกว่า “มัชฌิมชนบท” “มัชฌิม” ไม่ใช่ “จุ้ง” “กลาง”
แล้วใครจะเถียงมั้ยล่ะว่า สิ่งต่าง ๆ
ส่วนมากที่เรารู้จักกันว่า
中原 – จุ้งหยวนคือ
เกล้ากระหม่อม หรือมิ่งขวัญ หรือชีวิตจิตใจ ของชนชาติฮั่น“มิ่ง” ในภาษาไทยก็มีเสียงและความหมายคล้าย ๆ กับคำว่า “มิ่ง” ในภาษาจีนกลาง เช่น หว๋อเตอะ มิ่ง ที่แปลว่า ชีวิตของฉัน เป็นต้น
ซินแส ที่สอนภาษาจีนกลางแก่ผู้วิจารณ์
ท่านเคยนำนิทานสั้น ๆ มาให้อ่าน เกี่ยวกับคำว่า มิ่ง หรือ ขวัญ:-
คนจนแต่ดัดจริตคนหนึ่ง
คล้าย ๆ ผู้วิจารณ์เนี่ยะ“โต้ว ฝุ จิ้ว ชื่อ หว๋อ-เตอะ มิ่ง”
แปลว่า “เต้าหู้ ก็คือ ชีวิตของฉัน”
ระหว่างนั้น
แจ๋วที่บ้านเศรษฐีก็ทยอยนำอาหารมาเสิร์ฟ
เจ้าสัว เห็นดังนั้น
ก็รู้สึกสนเท่ห์เป็นอันมาก– เต้าหู้คือชีวิตของฉัน แล้วทำไมไม่เห็นคุณคีบเต้าหู้กิน แม้แต่คำเดียว
ยาจกผู้นั้นตอบเศรษฐีว่า
พออ่านจบ ผู้วิจารณ์กับเพื่อนนักเรียนก็หัวเราะ
แบบว่า
บัดนี้ ผู้วิจารณ์นึกสงสัยว่า
คนยากจนในนิทานคือคนแคะ ใช่ไหม?
中国 – จุ้ง กว๋อ 中原 – จุ้งหยวน ไม่ได้中国 –
จุ้ง กว๋อ เป็นคำใหม่
ตัวอักษร 国-กว๋อ เป็นอักษรที่นำมาใช้ใหม่ -- 中原 ไม่ได้
มีซิงแซ เป็นฝรั่งเยอรมันตะวันออก
ก็ดีอย่างนี้เอง
ในส่วนที่เกี่ยวกับคนแคะนั้น
ผู้วิจารณ์มีความรู้สึกว่า ถ้าเราลองขุดลึกลงไปในจิตใจของคนชาติฮั่นในเมืองจีนnondit – น็งดี แปลตามตัวว่า
ปัจจุบันนี้บางท่านเห็นว่า เขาไม่พูดเพราะถือว่า
เป็นเรื่องไม่ถูกไม่ควรในทางการเมืองpolitically incorrect เพราะฉะนั้น เพื่อให้ถูกต้องทางการเมือง– เมื่อไม่นานนักมานี้
เข้าใจว่ามีเอกสารรับรองอย่างเป็นทางการที่ผู้สนใจอาจค้นคว้าศึกษา และสืบค้นได้
ผู้วิจารณ์เป็นศิษย์ของ เป็นไปได้ไหมว่าคนเหล่านี้เขามั่นใจตัวเองพอ
ว่าเขาเป็นจีน
ความรู้สึกเดียดฉันท์ว่า คนแคะไม่ใช่คนชาติฮั่น
และความเดียดฉันท์อื่น ๆ ต่อคนแคะนั้น – แต่จริง)
เมื่อพวกเรดการ์ด พยายามทำลาย เติ้ง เสี่ยวผิง
และจับ ผูฟ่าง บุตรชาย โยนลงมาจากอาคารชั้นเล่าเต้ง
จนเขาขาหักกลายเป็นคนพิการตลอดชีพ
แต่พูดก็พูดเถอะ ไหน ๆ พูดลำเอียงมาถึงขั้นนี้แล้ว
จะขอเอียงต่อไปว่า
เช่นเดียวกับที่ ยิปซีในยุโรป ไม่ใช่คนชาติพันธุ์เยอรมันนิค
3)
ไฝ่ลู้ไฝ่เลียน
คุณวิกรม กรมดิษฐ์ กำลังอ้างเหตุผล(argument)ด้วยการยกความสัมพันธุ์เชิงสาเหตุขึ้นมากล่าวว่า
การอ้างเหตุผล(argue)ด้วยการยกความสัมพันธุ์เชิงสาเหตุขึ้นมาอ้างนั้น:-
-- สาเหตุนั้น เป็น
ขอวิเคราะห์การกล่าวอ้างของ
คุณวิกรม กรมดิษฐ์
ดังนี้
กรณีนี้ ไฝ่ลู้ไฝ่เลียนเป็นสาเหตุ
Y (ตำแหน่งการเมืองระดับสูง) X(ไฝ่ลู้ไฝ่เลี่ยน)
แต่ตัวอย่างที่คุณวิกรม กรมดิษฐ์ ยกมาหลายคน
เช่น นายพล จู เต๋อ
ก็ดี หรือนางสาวยิ่งลักษณ์
ชินวัตร ก็ดี
กรณีที่สอง.
เป็นสาเหตุที่เพียงพอ
หรือเปล่าX(ไฝ่ลู้ไฝ่เลียน) เป็นสาเหตุ Y(ตำแหน่งการเมืองระดับสูง)
X(ไฝ่ลู้ไฝ่เลียน) เราก็อนุมานได้ว่า จะเห็นผล Y(ตำแหน่งการเมืองระดับสูง)
ตามจริง เราพบกับ
ไฝ่ลู้ไฝ่เลียน ในตัวคุณวิกรม
กรมดิษฐ์ เอง ไม่ต้องยกตัวอย่างไกล แต่การณ์กลับปรากฏว่า คุณวิกรม กรมดิษฐ์ ไม่ได้ดำรงตำแหน่งการเมืองระดับสูง
กรณีที่สาม.
เป็นสาเหตุที่จำเป็นและเพียงพอ
ใช่ไหม
ผู้วิจารณ์จะขอตั้งข้อสังเกตว่า
คุณสมบัติ broad
stroke) สรุปเอาง่าย ๆ เป็น one of the sweeping
generalizations about Hakka virtues argument)ที่ดี ในอดีต ก็เคยมีนักวิชาการชาวแคะซึ่งเป็นนักชาตินิยมแคะ
เคยทำเช่นนี้มาก่อน -- ประมาณเมื่อร้อยปีมาแล้ว
ผู้วิจารณ์มีความเห็นต่าง
โดยเห็นว่า ตามประเพณีที่เป็นมาในเมืองจีน คนกลุ่มหนึ่งในสมัยโบราณ
เขาไฝ่รู้ไฝ่เรียนก็เพื่อจะไปสอบจอหงวน
การสอบจอหงวนริเริ่มขึ้นสมัยราชวงศ์ฮั่น
ประมาณว่าตรงกับราชวงศ์โมริยะ ของจันทรคุปตะและอโศกมหาราชในอินเดีย– ก็ว่าได้
ในเมืองจีนโบราณ
คนที่สอบจอหงวนได้ จะมีตำแหน่งและสถานภาพทางสังคมสูง
ดุจจะว่าเสมือนเป็นสมาชิกในราชวงศ์จักรพรรดิ“ต่างพระเนตรพระกรรณ”
เพื่อให้ท่านผู้อ่านบางท่านเข้าใจระบบจอหงวนขึ้นอีกสักเล็กน้อย
จอหงวนมีเปรียญให้เพียงประโยคเดียว
คือ เปรียญเก้าประโยค
ดังจะเห็นได้ว่า
เพราะฉะนั้น
เกี่ยวกับประเด็น :-
Literacy and
political culture were thus wedded in China as nowhere else.
หมายเหตุ –
4)
ทำไมจึงตกสำรวจ
คนแคะอย่าง นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
และนายลี เสียนหลง(ชิว หวุ่นลิ่ม) และนายลี เสียนหลง เป็นบุตรชายอดีตนายกรัฐมนตรี
ลี กวนยู(ชื่อจีนว่า ลี กวนยู
เช่นเดียวกัน แกไม่มีชื่อไทย)ใช่หรือไม่ใช่..
รายชื่อนักการเมืองระดับสูงชาวแคะที่คุณวิกรม กรมดิษฐ์ ระบุนามมาทั้งหมดมีเก้าคน
สี่คนในจำนวนนั้นเกี่ยวดองใกล้ชิดฉันท์ญาติ
ส่วนอีกห้าคนก็ไม่เชิงว่าจะเป็นผู้ไฝ่ลู้ไฝ่เลียนเสียทีเดียว
ความสัมพันธุ์ทางครอบครัว
จะเป็นสาเหตุแห่งการก้าวขึ้นตำแหน่งการเมืองระดับสูง ปุจฉาข้อนี้ผู้วิจารณ์คิดว่า
เราคงจะต้องปล่อยให้เด็กป.6 ทำวิสัชนากันต่อไปจะดีกว่า
การทำสำมะโนประชากรคนแคะที่ขึ้นสู่ตำแหน่งการเมืองระดับสูง แต่ว่าคุณวิกรม
กรมดิษฐ์ ไม่เอ่ยถึงเขาเลย – น่าน้อยใจแทน
ประชาธิปไตยในประเทศด้อยพัฒนา ท่านว่า
ที่จริงเป็นการทำสำมะโนประชากรชนิดหนึ่ง - विद्याधर सूरजप्रसाद नैपाल (วิทยาธร
สุรัชประสาท เนาปาล)
เท่าที่ผู้วิจารณ์สังเกตการณ์การเล่นการเมืองของนักการเมืองคนแคะบางคน
ไม่ว่าในเมืองไทยหรือในเมืองสิงห์คโปร์ – แล้วจะแซบหลาย
กลับไปดูขบถไต้ผิง
ดังนั้น ประเด็นด้าน นโยบายจึงจะไม่ใคร่มาเกี่ยวข้องกับการเมืองประชาธิปไตยแบบทำสำมะโนประชากร - विद्याधर सूरजप्रसाद नैपाल (วิทยาธร
สุรัชประสาท เนาปาล)
บังเอิญว่าผู้วิจารณ์เคารพนับถือนักเขียน
ก็เลยจำคำของท่านได้
และเห็นว่าแนวคิดของท่านใช้ได้กับการเมืองแบบแคะ แม้ว่าท่านจะสรุปความคิดดังกล่าวขึ้นจากการพิจารณาการเมืองในอาฟริกา
อินเดีย และละตินอเมริกา ก็ตาม (วิทยาธร สุรัชประสาท เนาปาล เป็นคนเชื้อสายภารตะ
ชาวเกาะตรินิแดด อยู่นอกฝั่งประเทศเวเนซุเอลา ทวีปอเมริกาใต้)
อย่างไรก็ดี การเล่นการเมืองแบบเล่นไล่สายชาติพันธุ์สำหรับในเมืองไทยแล้ว
ในที่สุดประเด็นแท้จริงของการเมืองการปกครอง ก็จะไล่ตามทัน จนสามารถส่งเสียงแข่งได้ไม่แพ้แก่กันก็เท่ากับฉวยเอาแต่ประโยชน์ตน พร้อม ๆ กับตบหน้าคนอื่น
ๆ ทุก ๆ คนอย่างประชาธิปไตย คือตบมันเสมอหน้ากันหมด –นี่ก็เป็นประเด็นประชาธิปไตยชนิดถ้วนหน้าอย่างหนึ่ง
ซึ่งก็ต้องเป็นนักประชาธิปไตยที่เฉลียวฉลาดล้ำลึกเท่านั้น ที่จะคิดได้อย่างนี้
5)
คำควบก้ำ ของคุณวิกม กมดิด
ภาษาแคะ กับ ภาษาไทย
คล้ายกันอยู่อย่าง ตรงที่ต่างก็มีคำควบกล้ำด้วยกัน
ตัวอย่างคำควบกล้ำในภาษาแคะ
ที่เทียบได้เสมือนคำควบแท้ในภาษาไทย ได้แก่คำแคะที่ใช้เสียงอักษรควบเป็นเสียง หองอ
= “หง”
เสียงควบกล้ำ = ห. หีบ
: ไหง
: ไห อ่อย หี
ชาวแคะได้ยินแล้ว มึนตื้บ(มึน เหมือนโดนกระทืบ)
ไม่ทราบว่า คุณกำลังพูดอะไร– คุณรักเธอ หรือว่าคุณรักอะไร?
แพ่—แพ่
ดังนั้น ถ้าคุณวิกรม กรมดิษฐ์
ออกเสียงควบกล้ำในภาษาแคะไม่ได้
อีกประการหนึ่ง คำว่า “หงี” เป็นคำสรรพนามบุรุษที่สองเพียงคำเดียวในภาษาแคะyou ซึ่งก็เป็นสรรพนามบุรุษที่สองเพียงคำเดียวในภาษาอังกฤษ– เป็นดีที่สุด
เมื่อประมาณเจ็ดแปดปีก่อน ผู้วิจารณ์ไปนิวยอร์คกับมิตรสหาย“คน ๆ นี้
เขาต้องการเข้ามามีบทบาททางการเมือง”
โอ้โฮ ถ้าคำบอกเล่าของท่านเป็นจริง
ก็จะยิ่งเป็นอีกเหตุผลหนึ่ง ที่คุณวิกรม กรมดิษฐ์ ผู้มีศักยภาพควบตำแหน่งรมต.ต่างประเทศ และควบรมต.วัฒนธรรม ควบกล้ำกับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
บัดนี้ ผู้วิจารณ์จึงมีคำถามสำคัญ อยากจะเรียนถามคุณวิกรม กรมดิษฐ์ ซึ่งเป็นคนแคะ ว่า ถ้าตัวผู้วิจารณ์เองนี่แหละ ไม่ใช่ใครที่ไหน ใช้ภาษาแคะแบบวับัติจัญไร ไม่ใส่ใจกับคำควบกล้ำในภาษาแคะ แล้วทำเสียง ง. งู หายไป“หงี”
ใครจะรับผิดชอบ กับอนาคตของ “หงี”
แดง ใบเล่
โพสต์สำหรับ วันศุกร์ที่ 24 มกราคม 2557
ฝากคุณวิกรม กรมดิษฐ์:
-- “The word ‘Hakka’ came ‘out of the closet’ and into the headlines of
-- “But the iconography of Hakkas in patriotic dissent, now recycled to glorify geriatric central control, could backfire if it encourages a revival of stereotypes of Hakka crudeness. For now, it at least get laughs.”
จาก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น